|


 |


 |
|
|
|
 |
|
 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
สมัยรัชการที่ 5 ความเจริญในประเทศไทย ยังมีความล้าหลังกว่าประเทศเพื่อนบ้าน อย่างประเทศพม่าที่มีความเจริญมาก
ขึ้นหลังจากที่พม่าได้รับอิสรภาพจากประเทศอังกฤษ ศูนย์กลางของความเจริญในแถบภาคตะวันตก จึงอยู่ที่ประเทศพม่า ทำให้คนไทยมุ่งเป้าที่จะค้าขาย และประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับประเทศพม่า และ “แม่สอด” ก็เป็นเมืองหนึ่งที่มีแนวเขตติดต่อกับประเทศ
พม่าและเป็นเมืองหน้าด่าน เเม่สอดนั้นเดิมมีชื่อว่า “เมืองฉอด” |
|
|
เป็นหมู่บ้านเล็กๆ ของชาวกะเหรี่ยงปกาญอ และลาวหลวงพระบาง ด้วยเหตุความเจริญของประเทศพม่าเบื้องต้น จึงทำให้ชาวบ้านที่มีถิ่นฐานเดิมอยู่ตามหัวเมืองต่างๆ และประสบปัญหาภัยแล้ง ทำมาหากินลำบาก จึงพากันอพยพย้ายถิ่นฐานมาตั้งรกรากอยู่ที่หมู่บ้านแห่งนี้ จนชุมชนขยายใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งมีการตั้งเป็นอำเภอ และเปลี่ยนชื่อเป็นแม่สอดในภายหลัง ด้วยแม่สอดเป็นพื้นที่อุดมสมบูรณ์ ชาวบ้านมีการประกอบอาชีพค้าขายกับพ่อค้าชาวพม่า จึง เกิดมีอาชีพหลายอย่างตามมา เช่น การรับจ้างโดยการใช้แรงงานขนของ การรับจ้างขนสินค้าด้วยเกวียน หรือที่คนท้องถิ่นเรียกว่า "วัวต่าง" เป็นต้น  |
|
|
|
พ.ศ. 2516 มีการประกาศจัดตั้งสภาตำบล จึงได้มีการจัดตั้งตำบลแม่ปะเป็นสภาตำบลแม่ปะ และในปี พ.ศ. 2539 สภา
ตำบลแม่ปะ อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ได้เปลี่ยนเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ปะ และมีผลตั้งแต่วันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2539 |
|
|
|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลแม่ปะ ตั้งห่างจากที่ว่าการอำเภอแม่สอด 3 กิโลเมตร อยู่ห่างจากตัวจังหวัดตากทางทิศตะวันตก
90 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 198.325 ตารางกิโลเมตรหรือ 123,953 ไร่ โดยแบ่งเป็นที่อยู่อาศัย 3,113 ไร่, ที่นา 4,500 ไร่, ที่ไร่
86,215 ไร่, ที่สวน 1,000 ไร่ และพื้นที่ป่า 29,125 ไร่ |
|
|
|
|
|
|
ตราสัญญลักษณ์ของตำบลแม่ปะ ประกอบด้วย 2 ส่วน |

 |
รูปพระธาตุเจดีย์พญาหน่อกวิ้น เป็นสถานที่สำคัญของตำบลแม่ปะ และเป็นศูนย์รวมจิตใจที่ชาวตำบลแม่ปะมีความศรัทธา เคารพนับถือ |

 |
ต้นไผ่ เป็นสัญลักษณ์ที่มาจากชื่อตำบล ที่มีชื่อว่า "บ้านสันป่าซาง" ก่อนที่จะเปลี่ยนชื่อตำบลว่า "ตำบลแม่ปะ" |
|
|
|
|
|
|
 |
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
ตำบลแม่กาษา อำเภอแม่สอด |
 |
|
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
เทศบาลตำบลแม่สอด |
|
 |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
ตำบลพะวอ อำเภอแม่สอด |
 |
|
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
ตำบลแม่ตาว ตำบลท่าสายลวด อำเภอแม่สอด และแม่น้ำเมย
เขตประเทศพม่า |
|
|
|
     |
|

 |
|
|
|
|
ตำบลแม่ปะ อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง โดยสภาพพื้นที่ทางภูมิศาสตร์มีลักษณะ
ภูมิประเทศเป็นที่ราบประมาณ ร้อยละ 75 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกนั้นเป็นพื้นที่สูง |
|
|
|
|
|
มีสภาพอากาศเย็นชื้นตลอดทั้งปี |
|
|
|
|
|
ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำนา ทำไร่ ทำสวน และเลี้ยงสัตว์ เป็นส่วนใหญ่ |
|
|
|

 |
|
|
|
|
|
|
จำนวนประชากรทั้งหมด 11,905 คน แยกเป็น |

 |
ชาย จำนวน 6,159 คน |
คิดเป็นร้อยละ 51.73 |

 |
หญิง จำนวน 5,746 คน |
คิดเป็นร้อยละ 48.27 |
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 7,446 ครัวเรือน |
ความหนาแน่นเฉลี่ย 60.03 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
|
|
 |
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน
ครัวเรือน |
 |
|
1 |
|
บ้านแม่ปะเหนือ |
415 |
455 |
870 |
742 |
|
 |
2 |
|
บ้านแม่ปะกลาง |
1,036 |
1,034 |
2,070 |
1,248 |
 |
|
3 |
|
บ้านแม่ปะใต้ |
842 |
819 |
1,661 |
865 |
|
 |
4 |
|
บ้านห้วยกะโหลก |
712 |
682 |
1,394 |
563 |
 |
|
5 |
|
บ้านปากห้วยแม่ปะ |
210 |
180 |
390 |
145 |
|
 |
6 |
|
บ้านห้วยหินฝน |
213 |
185 |
398 |
255 |
 |
|
7 |
|
บ้านหนองบัว |
530 |
448 |
978 |
854 |
|
 |
8 |
|
บ้านแม่ปะบ้านสัน |
248 |
211 |
459 |
218 |
 |
|
9 |
|
บ้านพระธาตุ |
992 |
866 |
1,858 |
1,317 |
|
 |
10 |
|
บ้านร่วมใจพัฒนา |
650 |
576 |
1,226 |
991 |
 |
|
11 |
|
บ้านหนองบัวคา |
311 |
290 |
601 |
248 |
|
 |
|
|
รวม |
6,159 |
5,746 |
11,905 |
7,446 |
 |
|
|

 |
|
|
|
|
|
 |
|
|
 |
|