|

 |
การตานเฮือนน้อย (ปล่อยข้าวสังข์) |
|

 |
ประเพณีปี๋ใหม่เมือง คนเมืองเชื้อสายล้านนาจะสืบสานประเพณีรดน้ำดำหัวญาติผู้ใหญ่ในวันที่ 15 เมษายนของทุกปี
เรียกว่า "วันพญาวัน" ถือเป็นวันขึ้นปีใหม่ของคนล้านนาด้วย ส่วนพี่น้องชาวพม่ากะเหรี่ยงก็จะซึมซับประเพณีเล่นน้ำสงกรานต์ด้วย
|
|

 |
ตำบลแม่ปะจะมีประเพณี “สรงน้ำพระธาตุ เจดีย์พญาหน่อกวิ้น” สิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำตำบล ในวันที่ 18 เมษายนของทุกปี |
|

 |
สืบชะตาหลวงของหมู่บ้าน |
|

 |
ปอยส่างลอง หรือบวชลูกแก้ว |
|

 |
ประเพณีทำตะแหลว ตะกล้า เพื่อสร้างความเป็นสิริมงคลในการทำนา |
|

 |
ปลูกต้นไม้ บวชป่า บวชปลา |
|

 |
ประเพณีวันเข้าพรรษา ทั้งคนไทย พม่า มอญ ไทยใหญ่ และกระเหรี่ยงที่ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธก็จะเข้าวัดทำบุญร่วมกัน |
|

 |
ประเพณีอุปัตก่า เป็นประเพณีของชาวพม่าและไทใหญ่ คือการแต่งกายสีขาวแล้วเดินเป็นขบวนขอรับการบริจาค
ทรัพย์หรือข้าวสารอาหารแห้งเพื่อนำไปถวายวัดในช่วงเข้าพรรษา |
|

 |
ประเพณีตานก๋วยสลาก เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ญาติผู้ล่วงลับตามแบบคนเมืองเชื้อสายล้านนา (ก่อนออกพรรษา) |
|

 |
ถวายข้าวพระพุทธ ก่อนออกพรรษา 2 อาทิตย์ และจะมีการกวนข้าวทิพย์ด้วย |
|

 |
วันออกพรรษา |
|

 |
ตักบาตรเทโวโรหนะ 2 แผ่นดิน |
|

 |
ประเพณีลอยกระทง ซึ่งในพื้นที่ตำบลแม่ปะจะมีการผสมผสานวัฒนธรรมทั้งของคนไทยเกี่ยวกับการลอยกระทง และ
ประเพณีตลาดสวรรค์ของคนไทยใหญ่ ที่จะมีการทำทานด้วยอาหาร ขนม และเครื่องดื่มนำมาแจกจ่ายให้ผู้ที่มาร่วมงานได้กินฟรี
ซึ่งชาวไทยใหญ่ถือว่าเป็นการทำทานที่ได้บุญมาก |
|

 |
ประเพณีปล่อยโคมลม เป็นการสะเดาะเคราะห์ |
|

 |
การเลี้ยงเจ้าที่/เจ้าทาง หลังฤดูกาลเก็บเกี่ยว |
|

 |
การสืบชะตา สะเดาะห์เคราะห์ (สะตวง) |